พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
พระสิบสอง เนื้อ...
พระสิบสอง เนื้อดิน จังหวัดลำพูน
พระสิบสอง จังหวัดลำพูน เป็นพระพิมพ์ขนาดใหญ่ เป็นศิลปะหริภุญไชย พบในกรุหลายวัดในจังหวัดลำพูนเเละจังหวัดระแวกใกล้เคียง

โดยผมได้รวบรวมข้อมูลที่นักโบราณคดีเเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพระพิมพ์นี้เเละพระพิมพ์สกุลลำพูนไว้ดังนี้ครับ

- คติการสร้าง เเบบพุทธเถรวาท โดยจริงๆเเล้ว องค์เเทนพระพุทธเจ้ามีอยู่ 3 องค์ตรงกลางประทับในปราสาท(3 องค์ใหญ่ประทับในปราสาท) ซึ่งอาจเเทนพระทีปังกรพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้า เเละพระศรีอริยเมตไตรยส่วนอีกสององค์ด้านข้าง(นั่งชันเข่า) สันนิฐานว่าคือพระสาวก ส่วนองค์อื่นๆ เป็นองค์ประดับอยู่ตามชั้นเชิงของปราสาท
*หมายเหตุ พระพิมพ์นี้ถึงเเม้จะสร้างโดยเเทนพระพุทธเจ้าสามพระองค์ เเต่คติการสร้างคนละความหมายกับพระ"ตรีกาย" เนื่องจากเมืองหริภุญไชยขณะนั้นนับถือพระพุทธศาสนาเเบบเถรวาท เเต่ส่วนตัวผมเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับพระตรีกายก็ได้ เเล้วมาตีความหมายใหม่ให้เป็นเเบบเถรวาท

- ศิลปะแบบหริภุญไชย โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะเขมรหรือศิลปะลพบุรี โดยรูปแบบอาจมาจากพระพิมพ์ตรีกายประทับในซุ้มปรางค์แบบเขมรหรือลพบุรี เเละปรับเปลี่ยนตัวปราสาทเป็นเเบบศิลปะหริภุญไชย

- การกำหนดอายุ ข้อมูลของกรมศิลปากรให้ได้ข้อมูลว่า อยู่ในช่วงสมัยหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ เเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะก็สันนิฐานว่าไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งสอดคล้องกับจารึกที่พบในวัดเก่าของเมืองลำพูนที่ระบุศักราชไว้ช่วงนั้นเช่นกัน เช่น จารึกวัดดอนแก้ว มีใจความว่า "พระเจ้าสววาธิสิทธิ ทรงได้สร้างวัดนี้ คือ เชตวัน(อาจเป็นชื่อวัดดอนแก้วในยุคนั้น) ในปี พ.ศ.1762 เมื่ออายุ 26 ปี" ดังนั้นจึงเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์อาจอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว คือมีอายุประมาณ 800 ปี ซึ่งอาจรวมไปถึงพระพิมพ์อื่นๆ เช่น พระรอด พระคง พระเปิม ด้วย

-อนึ่ง หลักฐานทางโบราณคดีเเละการสร้างพระพิมพ์ต่างๆในเมืองลำพูนเชื่อว่าไม่น่าจะเชื่อมโยงไปถึงพระนางจามเทวี เเละเอกสารเก่าสุดที่ได้กล่าวถึงพระนางจามเทวี คือ จามเทวีวงศ์ สันนิษฐานว่ารจนาราว พ.ศ. 1950 ถึง 2060 โดยเล่าย้อนไปถึงยุคของพระนางจามเทวีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งห่างจากช่วงเวลาที่ประพันธ์ในเอกสารจามเทวีวงศ์ ประมาณ 800 ปี อีกทั้งเรื่องราวในการประพันธ์ ออกไปในเเนวเรื่องเล่า,ตำนาน,อิทธิปาฎิหารย์ ใช้อ้างอิงได้เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นครับ

- ขอขอบคุณข้อมูล ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มงานเผยเเพร่เเละประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร
ผู้เข้าชม
577 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
บูชาแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
สุรินทร์ภักดี พระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
surinphakdee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
686-2-299xx-x

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Le29AmuletchaithawatPichet Pkcep8600เปียโนนรินทร์ ทัพไทย
Paphon07ชา วานิชErawanภูมิ IRโต้ง นนทบุรีtumlawyer
เจริญสุขsomemanโกหมูfrank_tumtongleehaeZomlazzali
geetarตุ๊ก แปดริ้วแมวดำ99โชคเมืองนนท์ยิ้มสยาม573เอก พานิชพระเครื่อง
ปราสาทมรกตsomphopศิษย์หลวงปู่หมุนtermboonJO RAYONG บ้านพระสมเด็จ

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1243 คน

เพิ่มข้อมูล

พระสิบสอง เนื้อดิน จังหวัดลำพูน




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
พระสิบสอง เนื้อดิน จังหวัดลำพูน
รายละเอียด
พระสิบสอง จังหวัดลำพูน เป็นพระพิมพ์ขนาดใหญ่ เป็นศิลปะหริภุญไชย พบในกรุหลายวัดในจังหวัดลำพูนเเละจังหวัดระแวกใกล้เคียง

โดยผมได้รวบรวมข้อมูลที่นักโบราณคดีเเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพระพิมพ์นี้เเละพระพิมพ์สกุลลำพูนไว้ดังนี้ครับ

- คติการสร้าง เเบบพุทธเถรวาท โดยจริงๆเเล้ว องค์เเทนพระพุทธเจ้ามีอยู่ 3 องค์ตรงกลางประทับในปราสาท(3 องค์ใหญ่ประทับในปราสาท) ซึ่งอาจเเทนพระทีปังกรพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้า เเละพระศรีอริยเมตไตรยส่วนอีกสององค์ด้านข้าง(นั่งชันเข่า) สันนิฐานว่าคือพระสาวก ส่วนองค์อื่นๆ เป็นองค์ประดับอยู่ตามชั้นเชิงของปราสาท
*หมายเหตุ พระพิมพ์นี้ถึงเเม้จะสร้างโดยเเทนพระพุทธเจ้าสามพระองค์ เเต่คติการสร้างคนละความหมายกับพระ"ตรีกาย" เนื่องจากเมืองหริภุญไชยขณะนั้นนับถือพระพุทธศาสนาเเบบเถรวาท เเต่ส่วนตัวผมเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับพระตรีกายก็ได้ เเล้วมาตีความหมายใหม่ให้เป็นเเบบเถรวาท

- ศิลปะแบบหริภุญไชย โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปะเขมรหรือศิลปะลพบุรี โดยรูปแบบอาจมาจากพระพิมพ์ตรีกายประทับในซุ้มปรางค์แบบเขมรหรือลพบุรี เเละปรับเปลี่ยนตัวปราสาทเป็นเเบบศิลปะหริภุญไชย

- การกำหนดอายุ ข้อมูลของกรมศิลปากรให้ได้ข้อมูลว่า อยู่ในช่วงสมัยหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ เเละนักประวัติศาสตร์ศิลปะก็สันนิฐานว่าไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งสอดคล้องกับจารึกที่พบในวัดเก่าของเมืองลำพูนที่ระบุศักราชไว้ช่วงนั้นเช่นกัน เช่น จารึกวัดดอนแก้ว มีใจความว่า "พระเจ้าสววาธิสิทธิ ทรงได้สร้างวัดนี้ คือ เชตวัน(อาจเป็นชื่อวัดดอนแก้วในยุคนั้น) ในปี พ.ศ.1762 เมื่ออายุ 26 ปี" ดังนั้นจึงเชื่อว่าการสร้างพระพิมพ์อาจอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว คือมีอายุประมาณ 800 ปี ซึ่งอาจรวมไปถึงพระพิมพ์อื่นๆ เช่น พระรอด พระคง พระเปิม ด้วย

-อนึ่ง หลักฐานทางโบราณคดีเเละการสร้างพระพิมพ์ต่างๆในเมืองลำพูนเชื่อว่าไม่น่าจะเชื่อมโยงไปถึงพระนางจามเทวี เเละเอกสารเก่าสุดที่ได้กล่าวถึงพระนางจามเทวี คือ จามเทวีวงศ์ สันนิษฐานว่ารจนาราว พ.ศ. 1950 ถึง 2060 โดยเล่าย้อนไปถึงยุคของพระนางจามเทวีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งห่างจากช่วงเวลาที่ประพันธ์ในเอกสารจามเทวีวงศ์ ประมาณ 800 ปี อีกทั้งเรื่องราวในการประพันธ์ ออกไปในเเนวเรื่องเล่า,ตำนาน,อิทธิปาฎิหารย์ ใช้อ้างอิงได้เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นครับ

- ขอขอบคุณข้อมูล ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มงานเผยเเพร่เเละประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
578 ครั้ง
สถานะ
บูชาแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
สุรินทร์ภักดี พระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0870081414
ID LINE
surinphakdee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 686-2-299xx-x




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี